ต้นมะพร้าว
ชื่อพฤกษศาสตร์ Ptychosperma elegans Blume
วงศ์ ARECACEAE
ชื่อพื้นเมือง Ptychosperma elegans Blume
ลักษณะทางนิเวศวิทยา (การกระจายพันธุ์ตามธรรมชาติ) เป็นพืชพื้นเมืองในแถบพอลินีเชียตอนใต้ แล้วแพร่กระจายไปยังบริเวณอื่น ๆ ภาษามลายูเรียกเมอกาดู ในหมู่เกาะในมหาสมุทรแปซิฟิกเรียกโนนู
ชนิดป่าที่พบ พบปลูกเลี้ยงอยู่ทั่วไป
ลักษณะทางวนวัฒนวิทยา
- ลำต้น / ลักษณะเนื้อไม้
- ใบ
- ดอก
- ผล
ลักษณะเป็นกอสูง 10-20 ฟุต ลำต้น 3-4 นิ้ว มีข้อปล้องเห็นได้ชัดเจน ผิวลำต้นหยาบขรุขระ ต้นอ่อนมีสีเทาอ่อน ต้นแก่สีน้ำตาลปนเทา
ใบประกอบแบบขนนกเป็นทางใบยาว 9 ฟุต ก้านใบยาว 1-2 ฟุต ปลายใบตัดและเป็นฟันแหลม มีใบย่อย 40 ใบหรือมากกว่า
ออกเป็นระแง้โตโคนกาบใบ ระแง้ยาว 1 ฟุต ดอกสีเหลืองอมเขียว เป็นดอกแยกเพศ ไม่มีกลิ่น
การขยายพันธุ์ ใช้เมล็ด
ช่วงเวลาออกดอก-ผล 3 ปี
การใช้ประโยชน์และความสำคัญ น้ำมะพร้าว ใช้เป็นเครื่องดื่มเกลือแร่ได้ เนื่องจากอุดมไปด้วยโพแทสเซียม นอกจากนี้ยังมีคุณสมบัติปลอดเชื้อโรค และเป็นสารละลายไอโซโทนิก ซึ่งด้วยเหตุนี้จึงสามารถนำน้ำมะพร้าวไปใช้ฉีดเข้าหลอดเลือดเวน ในผู้ป่วยที่มีอาการขาดน้ำหรือปริมาณเลือดลดผิดปกติได้ น้ำมะพร้าวสามารถนำไปทำ วุ้นมะพร้าว ได้ โดยการเจือกรดอ่อนเล็กน้อยลงในน้ำมะพร้าว
แหล่งอ้างอิง http://www.oae.go.th/fruits/index.php/maintenance/102-production/plant/95-coconutcared?showall=1&limitstart=
ความคิดเห็น
แสดงความคิดเห็น